บทความชวนอ่าน มานุษยวิทยากับการศึกษาพิพิธภัณฑ์




มานุษยวิทยากับการศึกษาพิพิธภัณฑ์

           มานุษยวิทยาพิพิธภัณฑ์ศึกษา (Museum Anthropology) หมายถึงการทำงานด้านมานุษยวิทยาที่เกิดขึ้นในพิพิธภัณฑ์หรือการศึกษาพิพิธภัณฑ์ในมิติทางมานุษยวิทยา โดยความหมายเหล่านี้สามารถมีได้แตกต่างกันออกไป โดยการศึกษามานุษยวิทยาวัฒนธรรมได้รวมเอาการศึกษาพิพิธภัณฑ์เข้าไว้ด้วย ในเวลาต่อมาการศึกษาพิพิธภัณฑ์ในมิติมานุษยวิทยาได้กลายเป็นสาขาหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ศึกษาไปในที่สุด (Amiria, 2005)

           มิติมานุษยวิทยาในการศึกษาพิพิธภัณฑ์มีประวัติความเป็นมายาวนานพอ ๆ กับการที่นักมานุษยวิทยาเข้าไปทำงานในพิพิธภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็นนักมานุษยวิทยาสายวัฒนธรรม นักโบราณคดี และนักมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วนักมานุษยวิทยาเหล่านี้มักทำงานในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ เนื่องจากวัตถุทางวัฒนธรรมบางชิ้นซึ่งถูกค้นพบโดยนักมานุษยวิทยา หรือนักโบราณคดีจะถูกอธิบายว่าเป็นงาน “ศิลปะ” ประเภทหนึ่ง ซึ่งจะถูกนำไปจัดเก็บและแสดงในพิพิธภัณฑ์ศิลปะ ภัณฑารักษ์บางคนที่เก็บรักษาดูแลวัตถุที่ได้จากสังคมชนเผ่าจึงเป็นนักมานุษยวิทยา แต่ในระยะเวลาต่อมาผู้ที่มาทำหน้าที่ภัณฑารักษ์คือนักประวัติศาสตร์ศิลปะ (Ira, 2002)

อ่านบทความฉบับเต็ม

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น คุณยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์ หรืออ่านนโยบายสิทธิส่วนบุคคล อ่านนโยบายการใช้คุกกี้ คุณยินยอมให้เราเก็บข้อมูลผ่านคุกกี้
ChatBot cancel

สวัสดีฉันคือแชทบอทจาก
ธัชชา ฉันสามารถช่วยอะไรได้บ้าง?

ChatBot cancel
สวัสดีฉันคือแชทบอทจาก
ธัชชา ฉันสามารถช่วยอะไรได้บ้าง?
powered by Eventpass

ธัชชา มีสถานะเป็นหน่วยงานภายในระดับกองของสำนักปลัดกระทรวง อว. ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ของประเทศ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร หากท่านพบว่ามีข้อมูลใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์นี้ โปรดแจ้งให้ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป

© 2021 TASSHA, Office of the Permanant Secretary , Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. ALL RIGHTS RESERVED.

แอปพลิเคชั่นทั้งหมดของกระทรวง อว.

ติดตาม "ธัชชา" ได้ที่